Fluke, Oh |
Phiwit has slipped into the role of dutiful partner to his boyfriend Kong in the latest episode of the channel 5 drama, Tomorrow, I’ll Still Love You.
Kong, played by Fluke Pachara Thammon, and his sister have dropped in to visit Kong’s mother in hospital. Phiwit, played by Oh Anuchyd Sapanphong, folds up a sweater belonging to boyfriend Kong, just as a good partner should.
How sweet is that?
He asks Kong’s Mum if he can get her anything good to eat on his way home – just as a good son-in-law should.
Again, how endearing is that?
Later, Phiwit accompanies Kong’s family on a weekend visit to their old home in Rayong, which they have decided to sell to meet living expenses.
Phiwit lugs both his bag and Kong’s backpack out of the car, which spares his boyfriend Kong from the need to carry anything.
This young lad shows promise as a potential husband – yet the moment is also remarkable for being nothing, in itself, out of the ordinary.
Kong and Phiwit are like any other couple, only they are guys.
Other fan reaction:
'Two people in love often start to imitate each other's mannerisms,' says another fan, pointing to the fact that both Kong and Phiwit like to wear a frown (see picture).
-
Kong-Phiwit fever has taken the town by storm, as even a cursory glance at webboards will tell you.
One fan attributes popular support for this couple to a desire among Thais to unite behind a common ideal.
‘Politics is driving us apart. How nice to find something we can all feel good about,’ she wrote at the Pantip webboard.
Not everyone, however, is happy...
-
The relationship between Kong and Phiwit sets a bad example to Thais, because this couple looks too normal, says one newspaper columnist.
Writing in the Daily News newspaper, ‘Freestyle’ entertainment columnist Wipawadee argues that for most Thais, the relationship between Kong and Phiwit has gone too far.
The author acknowledges that Kong and Phiwit have become the ‘talk of the town’, and that in the eyes of some readers, his own views will seem outmoded and old-fashioned.
The influence of western values on Thai culture is such that gay relationships are almost commonplace these days, he says, even if ‘nature’ determines that a man should love a woman, not another man.
The gay relationship portrayed in Tomorrow, I’ll Still Love You is bolder than any presented on Thai public TV before.
The author asks if it will not end up influencing teens into thinking they should copy such behaviour.
‘I admit that in today’s society it is nothing unusual to find this kind of love [everyday love]....but those are usually relationships between ordinary people,’ he says.
Subtext? In portraying Kong and Phiwit as an ordinary couple - little different from a man and woman together - the producers risk upsetting the popular stereotype of gays, that they are crazy over men, can’t hold down a relationship, and should be regarded as figures of fun, or freaks in general.
‘Love is a beautiful thing in all its stripes, and I am not in favour of closing the eyes and ears of our young to love in all its possibilities. By all means, throw in a bit of gay love – but they shouldn’t make it such a dominant part of the show to the point where it drowns out all else,’ says columnist Wipawadee.
In the interests of balance, I’m posting the column here. Below, I’ll bring you a response from a gay Thai man who has been watching the show.
ผมได้ติดตามชมละครเรื่อง "พรุ่งนี้ก็รักเธอ ที่ออกอากาศทุกวันจันทร์-พฤหัสบดี เวลา 20.20น. ทางช่อง 5และกำกับการแสดงโดย "คุณบอย- ถกลเกียรติ วีรวรรณ" มาพักใหญ่แล้วครับ แต่ที่แปลกใจกับละครเรื่องนี้ คือเขากล้าที่จะนำเสนอความรักของชาวสีม่วงอย่างเปิดเผย.......
....กระแสแรงเกินคาดจนกลายเป็นทอล์คออฟเดอะทาวน์ไปแล้วสำหรับความน่ารักกุ๊กกิ๊กของคู่ พี-ก้อง ที่รับบทโดยโอ-อนุชิต และฟลุ๊ค เดอะสตาร์ ถ้าเราจะมองกันตามกระแสนิยมที่คนพูดถึงกันมากที่สุดเราก็ต้องยอมรับว่าละครเรื่องนี้กล้าที่จะนำเสนอในสิ่งที่หลายๆค่ายไม่กล้านำเสนอกับความรักของตัวละครที่เป็นเพศเดียวกัน ทำให้กระแสของละครเรื่องนี้แรงขึ้นมาจริงๆ
แต่ถ้าเราจะมองกันตามวัฒนธรรมประเพณีซึ่งในสมัยนี้บางคนอาจจะบอกว่าผมเชยหรือหัวโบราณก็ได้นะครับ ผมมองว่าการนำเสนอในเรื่องราวแบบนี้มันดูมากเกินไป ซึ่งผมเชื่อว่าหลายๆคนอาจจะรับไม่ได้ด้วยซ้ำ เพราะด้วยธรรมชาติของมนุษย์แล้วคนที่เกิดมาคู่กันคือผู้หญิงและผู้ชายครับ ไม่ใช่คนเพศเดียวกัน
แต่สมัยนี้เราได้รับอิทธิพลจากตะวันตกเข้ามาเยอะทำให้เรื่องราวความรักในเพศเดียวกันเป็นที่ยอมรับมากขึ้นในวงสังคมไทย แต่ผมเชื่อว่ายังมีคนที่ไม่ยอมรับความรักแบบนั้นได้อย่างเปิดเผยร้อยเปอร์เซ็นต์
และผมยอมรับครับว่าในชีวิตจริงของเรานั้นเราได้เห็นความรักแบบนี้กันอยู่มาก แต่นั่นคือการใช้ชีวิตของคนธรรมดาทั่วไป แต่ในการนำเสนอผ่านจอทีวีกับเรื่องราวแบบนี้ถ้าเราจะมองกันอีกมุมหนึ่งมันเท่ากับส่งเสริมหรือเปล่า เยาวชนเข้าใจผิดหรือเปล่า! มองว่ามันเป็นค่านิยมที่ดีหรือเปล่าครับ
ผมเชื่อในความรักนะครับ ว่าความรักเป็นสิ่งที่ดีและสวยงาม ไม่ใช่เราจะปิดหูปิดตาเด็กในเรื่องนี้ แต่เราเลือกที่จะนำเสนอได้นะครับ เอาไปสอดแทรกในละคร แต่ไม่ควรจะทำให้ประเด็นของความรักคู่นี้เด่นออกมาจนกลบเรื่องราวที่น่าสนใจของตัวละครอื่นๆในเรื่อง
อยากจะฝากตรงนี้ไปถึงคุณบอยครับว่าถ้าลดตรงนี้ลงสักนิดผมว่าน่าจะดีกว่านะครับ อย่าลืมนะครับ เยาวชนของชาติกำลังติดตามละครของคุณอยู่ อย่าสักแต่ว่าเอากระแส เอาเรตติ้ง ผมว่าห่วงใยลูกหลานเด็กๆทางบ้านบ้างก็ดีนะครับ."
-
One gay reader has left a moving and eloquent response. Yes, the relationship between Kong and Phiwit challenges the usual gay stereotypes, he says – but then why shouldn’t a gay couple look like anyone else?
I’m posting it in full below, both as an excellent rejoinder to the conservative pitch of that Daily News columnist, but also as this blog's contribution to World Aids Today today.
ที่ว่า "เพราะด้วยธรรมชาติของมนุษย์แล้วคนที่เกิดมาคู่กันคือผู้หญิงและผู้ชาย"
ผมขอถามว่า แล้วคนที่รักเพศเดียวกันอย่างผมนี้ เกิดมาจากไหนกันครับ
ผมไม่ได้เกิดมาจากธรรมชาติ ตามวิธีการและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติหรอกหรือครับ
คนรักเพศเดียวกันอย่างผม ไม่ได้เกิดมาจากการตัดต่อรหัสพันธุกรรมโดยฝีมือมนุษย์หน้าไหนนะครับ
ผมเกิดมาตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เติบโตขึ้นมาตามธรรมชาติ
และวันหนึ่ง ผมก็พบว่า ผมรักคนที่เป็นเพศเดียวกันกับผม
ไม่ได้มีใครมาบอกกล่าว ไม่ได้มีใครเป็นตัวอย่างให้ทำตามทั้งนั้น
ผมเชื่อว่า คนที่รักเพศเดียวกันอย่างผมไม่ได้ผิดธรรมชาติครับ ผมเป็นธรรมชาติตามอย่างของผม
เพียงแต่ธรรมชาติของผมมันไม่ได้เหมือนกับคนอื่น ๆ ซึ่งมีจำนวนมากกว่า ก็เท่านั้นเอง
เพราะฉะนั้น เลิกเอาคำว่า ผิดธรรมชาติ ผิดปกติ มาพอกพูนอคติเถอะนะครับ
..........
ที่ว่า "การนำเสนอผ่านจอทีวีกับเรื่องราวแบบนี้ถ้าเราจะมองกันอีกมุมหนึ่งมันเท่ากับส่งเสริมหรือเปล่า"
ใครจะส่งเสริมอะไรให้ใครครับ
การรักเพศเดียวกันเป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันได้ด้วยเหรอครับ
ขอถามย้อนกลับบ้าง ผมดูละครและภาพยนต์ที่เป็นเรื่องราวของคู่รักชาย - หญิงมาตั้งมากมาย
ไม่เห็นว่ามันจะส่งเสริมให้ผมอยากมีแฟนเป็นผู้หญิงเหมือนในละครที่ผมดูบ้างเลยครับ
ผมเชื่อว่า การรักเพศเดียวกัน ไม่ได้ "เกิด" จากการเลียนแบบครับ
เพียงแต่อาจถูก "กระตุ้น" ได้ จากพฤติกรรมของบุคคลอื่นที่ได้รู้ได้เห็นมา
นั่นคือ มัน "มี" อยู่ในตัวคนคนนั้นอยู่แล้ว และได้ถูกบางสิ่งบางอย่างหรือหลายอย่างร่วมกัน "กระตุ้น" ให้แสดงความเป็นตัวตนออกมาก
ถ้าจะกล่าวว่า ละครเรื่องนี้ได้ส่งเสริมอะไรเกี่ยวกับประเด็นคนรักเพศเดียวกัน
ก็คงจะเป็นการส่งเสริมให้ คนที่ยังปกปิดตัวเองอยู่ กล้าที่จะเปิดตัวตนของตนเองเพิ่มขึ้น
จุดประกายให้คนที่รักเพศเดียวกันว่า สักวันหนึ่งอาจจะได้เจอคนดี ๆ รักดี ๆ อย่างในละครเรื่องนี้บ้าง
แต่คงไม่ได้เป็นการส่งเสริมให้มีคนที่รักเพศเดียวกันเพิ่มมากขึ้นหรอก
เพราะมันไม่ใช่สิ่งที่จะส่งเสริมกันได้ครับ
..........
ที่ว่า "เยาวชนเข้าใจผิดหรือเปล่า! มองว่ามันเป็นค่านิยมที่ดีหรือเปล่า"
ค่านิยมที่ว่านี่คืออะไรเหรอครับ
ค่านิยมการรักเพศเดียวกันเหรอครับ
ผมขอถามว่า การรักเพศเดียวกัน มันไม่ดีอย่างไรเหรอครับ
ยิ่งเรื่องราวความรักของ ก้อง - พี ในละครเรื่องนี้ยิ่งแล้วใหญ่
มันเป็นค่านิยมความรักที่ควรจะส่งเสริมเสียด้วยซ้ำไป
เพียงแต่เราถอดวางอคติเรื่องเพศออกไป มองข้ามประเด็นที่ว่า ทั้งสองคนเป็นเพศชายเหมือนกัน
เราจะเห็นสิ่งดี ๆ มากมายที่ควรจะเอาเป็นแบบอย่าง
ความรักที่ไม่มีเรื่องเพศสัมพันธ์ เงินตรา ชื่อเสียง ฐานะ มาเป็นประเด็น
ความรักที่ทั้งความจริงจังและจริงใจ แม้มีอุปสรรคก็พยายามฟันฝ่า
ความรักที่มีเข้าอกเข้าใจกัน เป็นกำลังใจให้กัน ห่วงหาอาทร ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้วยกัน
นี่ไม่ใช่ค่านิยมความรักที่ควรส่งเสริมให้เยาวชนเอาเป็นแบบอย่างหรอกเหรอครับ
หรือเราควรจะส่งเสริมค่านิยมแบบพฤติกรรมของพระเอกเรื่องนี้กัน
ทั้งใช้กำลัง กลั่นแกล้งนางเอก เอาแต่ใจตัวเอง บางครั้งก็พูดจาไม่คิดถึงใจคนฟัง
พฤติกรรมของตัวละครคู่ไหนจะส่งเสริมค่านิยมที่ดีของเยาวชนได้ดีกว่ากันครับ
..........
ผมคิดว่า ประเด็นคนรักเพศเดียวกันของละครเรื่องนี้ควรจะได้รับการสนับสนุนให้มีแพร่หลายมากขึ้นเสียด้วยซ้ำ
เพื่อจะได้ลดเลือนมายาคติที่คนบางกลุ่มพยายามสร้างขึ้นให้กับกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ
สังคมจะได้รู้ว่า เราไม่ใช่ตัวตลก ไม่ใช่ตัวประหลาด
ไม่ใช่พวกที่กรี๊ดกร๊าดบ้าผู้ชายไปวัน ๆ เหมือนที่ละครและภาพยนต์หลายเรื่องนำเสนอ
เราก็เป็นคนปกติธรรมดานี่แหล่ะ
คนที่รักเพศเดียวกันหลายคนก็มีบุคลิคไม่ต่างกับผู้ชายคนอื่น ๆ ซึ่งก็เห็นได้จากทั้งบุคลิคของก้องและพี
มีอะไรในเรื่องราวของก้องและพี ที่ไม่ควรได้รับการเผยแพร่หรือส่งเสริมให้คนรับรู้กันในวงกว้างเหรอครับ
..........
ขอทิ้งท้ายไว้สักนิด (นอกประเด็นละคร)
คนรักเพศเดียวกัน อย่างพวกผม ไม่ได้ต้องการความสงสาร หรือความเห็นใจในชะตาชีวิตหรอกนะครับ
มีมากมายหลายคนที่มีความสุขกับชีวิตอย่างที่ตนเองเป็น และหลายคนก็มีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าคนอื่นอีกมากมาย
แต่สิ่งที่ต้องการ จากทุกคน ไม่ว่าจะใครก็ตาม
คือ "ความเข้าใจ" ครับ
ความเข้าใจว่านี่คือธรรมชาติ นี่คือความปกติตามอย่างของเรา
เพียงแค่ "เข้าใจ" และ "ให้เกียรติ" ตามสมควร ก็ชุ่มชื่นใจแล้วครับ
‘...I am now in a world where I have to hide my heart
And what I believe in.
But somehow I will show the world what's inside my heart
And be loved for who I am...’
-
Meanwhile, some Thai families are refreshingly relaxed about the gay thing.
A Thai woman says her brother declared before the family recently that he was gay. She left her family's story at a Thai webboard.
While his father had not talked about the matter with his son directly, he likes to mention at home that the gays on his staff do an excellent job – as if he is really trying to compliment his son.
Mum takes a different approach. ‘She teases my brother about whether he will run off with her grandsons, whenever she gets some.’
เย้ๆๆ มาให้กำลังใจค่ะ
ดิฉันมีน้องชายเป็นเกย์
ตอนเด็กๆเราเองก็สงสัย ทำไมน้องเรามันนุ่มนิ่มจังวะ
แต่เวลาเดินไปปากซอย น้องเราจะให้เราเดินด้านใน ตัวเขาเดินด้านนอก
แล้วพอเห็นพวกจิ๊กโก๋มันแซวเรา เขาก็เดินมากอดคอเรา
แล้วก็ด่าผู้ชายกักขฬะพวกนั้นซะจนเราต้องห้ามไว้
กลัวพวกนั้นแอบมาดักทำร้ายน้องเราภายหลัง
น้องชายดิฉันน่าจะเป็นตั้งแต่เด็กแล้ว แต่พยายามปกปิดไว้
เพิ่งจะเปิดเผยกับที่บ้านเมื่อตอนเรียนมหาวิทยาลัย
พ่อกับแม่ก็อึ้งค่ะ แต่หลังจากนั้นก็ดำเนินชีวิตปกติ
สองสามปีผ่านมา แม่ทำใจได้ ท่านก็แซวๆว่าอยากอุ้มหลาน ทำไงดีเนี่ย
ลูกชายก็ไม่แต่งงาน ลูกสาวก็มีแววขึ้นคาน (แม่รู้ได้ไงอ่ะ)
แต่พ่อจะไม่พูดถึงเรื่องประมาณนี้ต่อหน้าน้องชายเลย
หลายครั้งท่านต้องติดต่อธุรกิจกับกระเทย/เกย์ที่มีหน้าที่การงานที่ดี
ท่านก็จะออกปากชื่นชมอย่างไม่มีอคติเลยล่ะ
น่าจะสดงให้เห็นว่า จริงๆท่านก็อยากชื่นชมลูกชายของท่านเหมือนกัน
แต่อาจจะไม่ค่อยชิน แต่ท่านก็เคยพูดกับดิฉันว่า
ไม่ว่าน้องจะเป็นแบบไหน ก็เป็นลูกพ่อเหมือนเดิม ท่านก็พูดติดตลกว่า
ไม่มีหลานก็ดี ไม่ต้องมีใครเรียกปู่ พ่อจะได้เป็นหนุ่มตลอดไง
คนรักเพศเดียวกันอย่างผม ไม่ได้เกิดมาจากการตัดต่อรหัสพันธุกรรมโดยฝีมือมนุษย์หน้าไหนนะครับ
ผมเกิดมาตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ เติบโตขึ้นมาตามธรรมชาติ
และวันหนึ่ง ผมก็พบว่า ผมรักคนที่เป็นเพศเดียวกันกับผม
ไม่ได้มีใครมาบอกกล่าว ไม่ได้มีใครเป็นตัวอย่างให้ทำตามทั้งนั้น
ผมเชื่อว่า คนที่รักเพศเดียวกันอย่างผมไม่ได้ผิดธรรมชาติครับ ผมเป็นธรรมชาติตามอย่างของผม
เพียงแต่ธรรมชาติของผมมันไม่ได้เหมือนกับคนอื่น ๆ ซึ่งมีจำนวนมากกว่า ก็เท่านั้นเอง
เพราะฉะนั้น เลิกเอาคำว่า ผิดธรรมชาติ ผิดปกติ มาพอกพูนอคติเถอะนะครับ
..........
ที่ว่า "การนำเสนอผ่านจอทีวีกับเรื่องราวแบบนี้ถ้าเราจะมองกันอีกมุมหนึ่งมันเท่ากับส่งเสริมหรือเปล่า"
ใครจะส่งเสริมอะไรให้ใครครับ
การรักเพศเดียวกันเป็นสิ่งที่ส่งเสริมกันได้ด้วยเหรอครับ
ขอถามย้อนกลับบ้าง ผมดูละครและภาพยนต์ที่เป็นเรื่องราวของคู่รักชาย - หญิงมาตั้งมากมาย
ไม่เห็นว่ามันจะส่งเสริมให้ผมอยากมีแฟนเป็นผู้หญิงเหมือนในละครที่ผมดูบ้างเลยครับ
ผมเชื่อว่า การรักเพศเดียวกัน ไม่ได้ "เกิด" จากการเลียนแบบครับ
เพียงแต่อาจถูก "กระตุ้น" ได้ จากพฤติกรรมของบุคคลอื่นที่ได้รู้ได้เห็นมา
นั่นคือ มัน "มี" อยู่ในตัวคนคนนั้นอยู่แล้ว และได้ถูกบางสิ่งบางอย่างหรือหลายอย่างร่วมกัน "กระตุ้น" ให้แสดงความเป็นตัวตนออกมาก
ถ้าจะกล่าวว่า ละครเรื่องนี้ได้ส่งเสริมอะไรเกี่ยวกับประเด็นคนรักเพศเดียวกัน
ก็คงจะเป็นการส่งเสริมให้ คนที่ยังปกปิดตัวเองอยู่ กล้าที่จะเปิดตัวตนของตนเองเพิ่มขึ้น
จุดประกายให้คนที่รักเพศเดียวกันว่า สักวันหนึ่งอาจจะได้เจอคนดี ๆ รักดี ๆ อย่างในละครเรื่องนี้บ้าง
แต่คงไม่ได้เป็นการส่งเสริมให้มีคนที่รักเพศเดียวกันเพิ่มมากขึ้นหรอก
เพราะมันไม่ใช่สิ่งที่จะส่งเสริมกันได้ครับ
..........
ที่ว่า "เยาวชนเข้าใจผิดหรือเปล่า! มองว่ามันเป็นค่านิยมที่ดีหรือเปล่า"
ค่านิยมที่ว่านี่คืออะไรเหรอครับ
ค่านิยมการรักเพศเดียวกันเหรอครับ
ผมขอถามว่า การรักเพศเดียวกัน มันไม่ดีอย่างไรเหรอครับ
ยิ่งเรื่องราวความรักของ ก้อง - พี ในละครเรื่องนี้ยิ่งแล้วใหญ่
มันเป็นค่านิยมความรักที่ควรจะส่งเสริมเสียด้วยซ้ำไป
เพียงแต่เราถอดวางอคติเรื่องเพศออกไป มองข้ามประเด็นที่ว่า ทั้งสองคนเป็นเพศชายเหมือนกัน
เราจะเห็นสิ่งดี ๆ มากมายที่ควรจะเอาเป็นแบบอย่าง
ความรักที่ไม่มีเรื่องเพศสัมพันธ์ เงินตรา ชื่อเสียง ฐานะ มาเป็นประเด็น
ความรักที่ทั้งความจริงจังและจริงใจ แม้มีอุปสรรคก็พยายามฟันฝ่า
ความรักที่มีเข้าอกเข้าใจกัน เป็นกำลังใจให้กัน ห่วงหาอาทร ร่วมทุกข์ร่วมสุขด้วยกัน
นี่ไม่ใช่ค่านิยมความรักที่ควรส่งเสริมให้เยาวชนเอาเป็นแบบอย่างหรอกเหรอครับ
หรือเราควรจะส่งเสริมค่านิยมแบบพฤติกรรมของพระเอกเรื่องนี้กัน
ทั้งใช้กำลัง กลั่นแกล้งนางเอก เอาแต่ใจตัวเอง บางครั้งก็พูดจาไม่คิดถึงใจคนฟัง
พฤติกรรมของตัวละครคู่ไหนจะส่งเสริมค่านิยมที่ดีของเยาวชนได้ดีกว่ากันครับ
..........
ผมคิดว่า ประเด็นคนรักเพศเดียวกันของละครเรื่องนี้ควรจะได้รับการสนับสนุนให้มีแพร่หลายมากขึ้นเสียด้วยซ้ำ
เพื่อจะได้ลดเลือนมายาคติที่คนบางกลุ่มพยายามสร้างขึ้นให้กับกลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ
สังคมจะได้รู้ว่า เราไม่ใช่ตัวตลก ไม่ใช่ตัวประหลาด
ไม่ใช่พวกที่กรี๊ดกร๊าดบ้าผู้ชายไปวัน ๆ เหมือนที่ละครและภาพยนต์หลายเรื่องนำเสนอ
เราก็เป็นคนปกติธรรมดานี่แหล่ะ
คนที่รักเพศเดียวกันหลายคนก็มีบุคลิคไม่ต่างกับผู้ชายคนอื่น ๆ ซึ่งก็เห็นได้จากทั้งบุคลิคของก้องและพี
มีอะไรในเรื่องราวของก้องและพี ที่ไม่ควรได้รับการเผยแพร่หรือส่งเสริมให้คนรับรู้กันในวงกว้างเหรอครับ
..........
ขอทิ้งท้ายไว้สักนิด (นอกประเด็นละคร)
คนรักเพศเดียวกัน อย่างพวกผม ไม่ได้ต้องการความสงสาร หรือความเห็นใจในชะตาชีวิตหรอกนะครับ
มีมากมายหลายคนที่มีความสุขกับชีวิตอย่างที่ตนเองเป็น และหลายคนก็มีคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าคนอื่นอีกมากมาย
แต่สิ่งที่ต้องการ จากทุกคน ไม่ว่าจะใครก็ตาม
คือ "ความเข้าใจ" ครับ
ความเข้าใจว่านี่คือธรรมชาติ นี่คือความปกติตามอย่างของเรา
เพียงแค่ "เข้าใจ" และ "ให้เกียรติ" ตามสมควร ก็ชุ่มชื่นใจแล้วครับ
‘...I am now in a world where I have to hide my heart
And what I believe in.
But somehow I will show the world what's inside my heart
And be loved for who I am...’
-
Meanwhile, some Thai families are refreshingly relaxed about the gay thing.
A Thai woman says her brother declared before the family recently that he was gay. She left her family's story at a Thai webboard.
While his father had not talked about the matter with his son directly, he likes to mention at home that the gays on his staff do an excellent job – as if he is really trying to compliment his son.
Mum takes a different approach. ‘She teases my brother about whether he will run off with her grandsons, whenever she gets some.’
เย้ๆๆ มาให้กำลังใจค่ะ
ดิฉันมีน้องชายเป็นเกย์
ตอนเด็กๆเราเองก็สงสัย ทำไมน้องเรามันนุ่มนิ่มจังวะ
แต่เวลาเดินไปปากซอย น้องเราจะให้เราเดินด้านใน ตัวเขาเดินด้านนอก
แล้วพอเห็นพวกจิ๊กโก๋มันแซวเรา เขาก็เดินมากอดคอเรา
แล้วก็ด่าผู้ชายกักขฬะพวกนั้นซะจนเราต้องห้ามไว้
กลัวพวกนั้นแอบมาดักทำร้ายน้องเราภายหลัง
น้องชายดิฉันน่าจะเป็นตั้งแต่เด็กแล้ว แต่พยายามปกปิดไว้
เพิ่งจะเปิดเผยกับที่บ้านเมื่อตอนเรียนมหาวิทยาลัย
พ่อกับแม่ก็อึ้งค่ะ แต่หลังจากนั้นก็ดำเนินชีวิตปกติ
สองสามปีผ่านมา แม่ทำใจได้ ท่านก็แซวๆว่าอยากอุ้มหลาน ทำไงดีเนี่ย
ลูกชายก็ไม่แต่งงาน ลูกสาวก็มีแววขึ้นคาน (แม่รู้ได้ไงอ่ะ)
แต่พ่อจะไม่พูดถึงเรื่องประมาณนี้ต่อหน้าน้องชายเลย
หลายครั้งท่านต้องติดต่อธุรกิจกับกระเทย/เกย์ที่มีหน้าที่การงานที่ดี
ท่านก็จะออกปากชื่นชมอย่างไม่มีอคติเลยล่ะ
น่าจะสดงให้เห็นว่า จริงๆท่านก็อยากชื่นชมลูกชายของท่านเหมือนกัน
แต่อาจจะไม่ค่อยชิน แต่ท่านก็เคยพูดกับดิฉันว่า
ไม่ว่าน้องจะเป็นแบบไหน ก็เป็นลูกพ่อเหมือนเดิม ท่านก็พูดติดตลกว่า
ไม่มีหลานก็ดี ไม่ต้องมีใครเรียกปู่ พ่อจะได้เป็นหนุ่มตลอดไง
Was Once30 November 2009 at 21:09
ReplyDeleteBeing normal & Gay is controversial! I love it. The rest of the folks are running scared.
ReplyDelete